Powered By Blogger

วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554

การดำเนินงานบริการยืมระหว่างห้องสมุด

 สรุป การดำเนินงานบริการยืมระหว่างห้องสมุด (28/06/54)

การดำเนินงานบริการยืมระหว่างห้องสมุด

     มีคณะกรรมการควบคุมการดำเนินงาน ปรับปรุงพัฒนา Union catalog มีคณะทำงานฝ่ายสารสนเทศห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
  1. จัดทำคู่มือ
  2. กำหนดมาตรฐานร่วมกัน
  3. กำหนดรูปแบบมาตรฐานการประสานงาน
  • ห้องสมุดที่ให้บริการเป็นผู้กำหนดนโยบายพิเศษวิธีการยืมระหว่างห้องสมุด
  • กำหนดรายละเอียดระบบการยืมระหว่างห้องสมุด
ผู้มีสิทธิใช้บริการ สมาชิกห้องสมุดทุกประเภท
ลักษณะการให้บริการ สมาชิกของห้องสมุดอาจไปยืมและคืนด้วยตนเอง หรือใช้บริการระหว่างห้องสมุด
ทรัพยากรที่ให้บริการ หนังสือ ตำรา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความในวารสารหรือในหนังสือ
จำนวนสิ่งพิมพ์ที่ให้ยืม 3 รายการ / คน (ในคราวเดียวกันไม่เกิน 20 เล่ม ต่อสถาบันอุดมศึกษา)
ระยะเวลาการยืม ประมาณ 1-2 สัปดาห์
ค่าบริการ (ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง ข้อตกลงว่าด้วยการบริการระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2550) ผู้รับบริการรับผิดชอบดังนี้
- ค่ายืมฉบับจริง 100 บาท / เล่ม (เป็นค่าส่งเอกสารลงทะเบียน)
- ค่าสำเนาเอกสาร ราคาประมาณ 2 บาท / หน้า
- ค่า Scan ส่งทางระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เอกสารข้อความหน้าละ 5 บาท
- ค่าส่งเอกสาร ตามใบแจ้งราคา
- ค่าธรรมเนียมการส่งเงิน ตามอัตราการไปรษณีย์แห่งประเทศไทย
ขั้นตอนการรับบริการ (ห้องสมุดดำเนินการให้) 1. ผู้รับบริการกรอกแบบฟอร์มการรับบริการยืมระหว่างห้องสมุด หรือส่งแบบฟอร์มที่กรอกเรียบร้อยแล้วที่ห้องสมุดที่ท่านสะดวกรับเอกสาร
2. ติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ห้องสมุด และจ่ายค่ามัดจำ (50 - 100 บาท / บทความ หรือ 300 - 500 บาท / สำเนาเอกสารทั้งเล่ม)
3. เมื่อห้องสมุดผู้ดำเนินการได้รับเอกสาร จะติดต่อแจ้งให้ท่านมารับเอกสารต่อไป
http://library.cmu.ac.th/cmul/node/125
  • ทำการสำรวจการให้บริการยืมฉบับจริงทางไปรษณีย์
  • คู่มือต่างๆที่ได้นำขึ้นใช้บนเว็บไซด์ดำเนินงาน
การดำเนินงานในระบบอัตโนมัติ (Automated ILL)
     ภายในสถาบันเครือข่ายสามารถแก้ปัญหาในการเข้าถึงสารสนเทศได้มากขึ้น

การยืมระหว่างห้องสมุดผ่านเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต(Interlibrary loan SW-ILL SW)

การคิดค่าบริการ
    ในการให้บิการมีการคิดค่าบรอการจากผู้ใช้ ทั้งนี้อย่างน้อยเพื่อให้มั่นใจว่า ผู้ใช้จะมารับรายการที่ยืมไว้แน่นอนและผู้ใช้ก็มั่นใจได้ว่าสถาบันจะดำเนินการให้อย่างแน่นอนเช่นกัน โดยปกติแล้วจะมีการคิดค่าบริการสำหรับบริการพิเศษบางอย่างอยู่แล้ว เป็นค่าใช้ยริการฐานข้อมูลออนไลน์กับค่าบริการฐานข้อมูลเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายต่างๆดังนี้ ค่าไปรษณีย์ ค่าประกันความเสียหาย ค่าบริการจากสถาบันผู้ให้ยืม

การจัดส่งเอกสาร
  • ทางไปรษณีย์
  • บรืการส่งพัสดุ
  • บริการรับส่งเอกสาร
การบรรจุหีบห่อและการจัดส่ง
การดำเนินการเมื่อได้รับเอกสาร
วัสดุที่ควรเพิ่มเติมในเอกสาร
การคุ้มครอง
   ให้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภท ได้แก่
ได้แก่
    1. งานวรรณกรรม  ( หนังสือ  จุลสาร  สิ่งพิมพ์  คำปราศรัย  โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ )
    2. งานนาฎกรรม  ( ท่ารำ  ท่าเต้น ฯลฯ )
    3. งานศิลปกรรม  ( จิตรกรรม  ประติมากรรม  ภาพพิมพ์  ภาพถ่าย  ศิลปประยุกต์ ฯลฯ )
    4. งานดนตรีกรรม ( ทำนอง  ทำนองและเนื้อร้อง ฯลฯ )
    5. งานสิ่งบันทึกเสียง ( เทป  ซีดี )
    6. งานโสตทัศนวัสดุ  ( วีซีดี  ดีวีดี  ที่มีภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง )
    7. งานภาพยนตร์
    8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
    9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ

วันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2554

บริการยืมระหว่างห้องสมุด/สถาบัน (Inter Library loan ILL)

สรุป บริการยืมระหว่างห้องสมุด/สถาบัน (Inter Library loan ILL) (25/06/54)


บริการยืมระหว่างห้องสมุด/สถาบัน (Inter Library loan ILL)

ฝ่ายบริการห้องสมุดจะคำนึงถึงว่าการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุดเป็นบริการหลัก (Basic Service)

งาน ILL ประกอบด้วย
  1. ขอยืม (Borrowing)
  2. ให้ยืม (Landing)
ความคาดหวังของผู้ใช้ (Use Expectations)
  • ห้องสมุดใ้ห้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้
  • มีความสะดวกในการเข้าถึง
  • ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ต้องการและเหมาะสม
  • มีความน่าเชื่อถือ
  • ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้
  • สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้
ความหมาย : บริการยืมคืนระหว่างห้งอสมุด/สถาบัน
      บริการที่สถาบันหรือสถาบันสารสนเทศร่วมมือกันในการใช้บริการของใช้วัสดุห้องสมุดภายในสถาบัน หรือสถาบันบริการสารเสนเทศแห่งอื่นๆ โดยมีข้อตกลงร่วมกัน
  • ระหส่างสถาบันสาชากับสถาบันศูนย์กลาง
  • ยืมระหว่างสถาบันภายในประเทศ ห้องสมุดประชาชนอาจยืมหนังสือหายากจาก หน่วยงานจดหมายเหตุ หรือพิพิธภัณฑ์ มาแสดงนิทรรศการหนังสือหายาก
  • ยืมระหว่างสถาบันที่อยู่ต่างประเทศ
ปรัชญาของการบริการ ILL
  • ไม่มีห้องสมุดใดที่สามารถจัดทรัพยากรที่สามารถตอบสนองความต้องการสารสนเทศผู้ใช้ได้ทั้งหมด
  • ความร่วมมือเป้นพื้นฐานขิงการบริการ ILL
  • ความต้องการของผู้ใช้เป็นสิ่งที่ต้องสามารถตอบความต้องการของผู้ใช้ได้
ความสำคัญของ ILL 
  1. ขยายความสามารถในการเข้าถึง
  • ลดปัญหาการมีวัสดุไม่พอเพียง การใช้สารสนเทศผู้ใช้ที่อยุ่ห่างไกลหรือผู้ใช้ของสถาบันขนาดเล้กที่มีข้อกำจัดทางด้านงบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรสารสนเทศ
  • ลดช่องว่างระหว่างสถาบัน ความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงสารสนเทศ ห้องสมุดขนาดเล็กมีโอกาสในการเ้ข้าใช้สารสนเทศทัดเทียมกับผู้ใช้ที่อยุ่ในเมืองใหญ่ ผู้ใช้สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในสถาบันนั้นได้
    2. ช่วยลดข้อจำกัดด้านระยะทาง
    3. มีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ คุ้มค่า คุ้มทุน
    4. ช่วยประหยัดงบประมาณ หลีกเลี่ยงการซื้อซ้ำซ้อน โดยเป็นการยืมแทนการซื้อ
    5. ช่วยให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรที่หายากและมีเฉพาะบางห้องสมุดเท่านั้น
    6. สร้างความเข้มแข็งในการจัดการ การยริการในกลุ่มห้องสมุดเพิ่มความก้าวหน้า
    7. สร้างภาพพจน์ที่ดีในการบริการ

องค์ประกอบการบริการระหว่างห้องสมุด
  1. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ (Polinet)
  2. การสร้างข้อตกลงร่วมมือ ในการบริการยืมระหว่างห้องสมุด
การดำเนินงานบริการยืมระหว่างห้องสมุด
  • ใีคณะกรรมการควบคุมการดำเนินงานปรับปรุงห้องสมุด Union Catalog มีคณะทำงานฝ่ายบริการสารสนเทศห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
  • คณะทำงานร่วมกัน พิจารณาเกี่ยวกับการให้ยืมฉบับจริงไปได้

วันอังคารที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2554

การกำหนดค่าปรับ

สรุป การกำหนดค่าปรับ (22/06/54)

การกำหนดค่าปรับ
  • การกำหนดจำนวนที่แตกต่างกัน
  • ค่าปรับในส่วนของระยะสั้นจะมีค่าปรับที่สูงกว่ากำหนดยืมระยะยาว
  • ค่าปรับทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทมีความแตกต่างกัน
  • ควรส่งเอกสารการแต้งเตือนทุกครั้งก่อนวันส่ง
การจัดการปัญหาในการปรับ
  • มีการยกเว้น (Amnesty Pragrams)
  • มีการผ่อนผัน (Grace period)
  • หากไม่มีการส่งคืน และไม่จ่ายค่าปรับสิทธิการใช้ห้องสมุดจะถูกระงับ เช่น การยกเลิกการเป็นสมาชิก งดเว้นบริการให้ยืม
  • ในบางห้องสมุดอาจมีการใช้บริการติดตามจากบริษัท ที่มีการติดตาม(น้อบมาก)
  • ห้องสมุดมหาวิทยาลัยจะทำเรื่องการออก transcripts หรือระงับการอนุมัติการศึกษา
  • หลังจาก Grace period ควรกำหนดค่าปรับเป็นจำนวนที่กำหนดโดยไม่นับตามจำนวนค่าปรับจริง
  • การกำหนด Grace period ให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการยืม
  • หากมีหนี้สินที่ยังไม่ได้ชำระเกินจำนวนเงินที่กำหนดโดยห้องสมุดเช่น 300 บาท จะไม่อนุญาติให้ยืมทรัพยากรอื่นๆจากห้องสมุดได้
  • มีการติดประกาศแจ้งความร่วมมือ
  • มีการแต้งเตือนเป็นระยะก่อนการดำเนินการใดๆในการจำกัดสิทธิ
การจ่ายค่าปรับ
  • จ่ายที่บริการ ยืม - คืน
  • จ่ายผ่านระบบอัตโนมัติ (Aotomated system automatically calculate fines)
  • เปิดให้มีการผ่อนผันการต่อรองระหว่างผู้ยืมและเจ้าหน้าที่
  • สำหรับห้องสมุดมหาวิทยาลัยห้องสมุดจะต้องนำส่งมหาวิทยาลัยเนื่องจากเป็นเงินรายได้ แต่สามารถขอใช้งบประมาณจากค่าปรับได้
ค่าสมาชิกค่าธรรมเนียม
  • นโยบายระหว่างห้องสมุด
  • คิดตามกำหนด หรือ ตามจำนวนประบเฉพาะที่ขำรุดเท่าันั้น
จริยธรรมในการบริการ
  • ต้องป้องกันสิทธิของผู้ใช้
  • พยายามเกื้อหนุนในการหมุนเวียนหนังสือเพื่อไม่ให้ผู้ใดผู้หนึ่งครอบครองนานเกินไป
การจัดการชั้นวางหนังสือ
  • ควรตรวจตราและควรจัดเรียนชั้นหนังสืออยู่เสมอ
  • กำหนดว่าในทุกเดือนนั้นจะต้องมีการตรวจสอบ รหัสของหนังสือ
  • หนังสือที่เป็นยอดนิยมนั้น ควรจัดขึ้นชั้นหนังสือยอดนิยม
การจัดเก็บทะเบียนผู้ใช้
  • เพื่อจำแนกว่าใครบ้างมีสิทธิ์ยืมทรพยากร หรือมีสิทธิในการใ้ช้บรการของสถาบันบริการสารสนเทศ
บัตรสมาชิก
  • บัตรพลาสติก
  • บัตรติดแถบแม่เหล็ก
  • บัตรติดรหัสแถบ
  • บัตรอัจฉริยะ
     บัตรอัจฉริยะ เป็นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการฝังชิปคอมพิวเตอร์ (Computer Chip)  ไว้ในบัตรสำหรับบรรจุข้อมูลต่างๆ ที่มาพร้อมกับระบบรักษาความปลอดภัย  ปัจจุบันรูปแบบการใช้งานบัตรสมาร์ทการ์ด แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
  1. สมาร์ทการ์ดแบบมีการสัมผัส (Contact smart cards)  จะใช้งานกับเครื่องอ่านสมาร์ทการ์ด (smart card reader) ซึ่งเป็นบัตรที่มีการผนึกชิปขนาดเล็ก  เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณครึ่งนิ้วเอาไว้ที่ด้านหน้าบัตรแทนการใช้แถบแม่ เหล็ก (Magnetic Stripe)  นิยมใช้ในบัตรเครดิตหรือบัตรเอทีเอ็ม  ผู้ใช้ต้องเสียบบัตรเข้าไปในเครื่องอ่าน  ระบบจึงจะทำการอ่านข้อมูล
  2. สมาร์ทการ์ดแบบไม่มีการสัมผัส (Contactless Smart cards payment)  เป็นบัตรผนึกชิปคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน  สำหรับเชื่อมต่อกับเครื่องรับ-ส่งข้อมูลระยะไกล (Remote receiver/transmitter)  เพื่อใช้ดำเนินธุรกรรมการชำระเงินแบบไม่ต้องสัมผัส (Contactless Payment) เช่น บัตรรถไฟใต้ดิน  และบัตรสมาร์ทเฟิร์ส เป็นบัตรเงินสดดิจิตอล  ซึ่งได้ติดตั้งไม่โครโปรเซสเซอร์ชิปไว้บนบัตร  เพื่อใช้สำหรับเก็บข้อมูลการเงิน ข้อมูลส่วนตัวบุคคล
 สาเหตุที่ผู้ใช้ไม่พอใจ
  • ไม่สามารถหาสิ่งที่ต้องการได้
  • ไม่ได้รับการแจ้งเตืนเมื่อมีค่าปรับ
  • ระยะเวลาการยืมทรัพยากรประเภทต่างๆสั้น
  • จำกัดจำนวนครั้งในการยืมต่อ
  • ค่าปรับประเภทต่างๆ
  • เสียงรบกวนในการเข้าใช้ห้องสมุด
  • ไม่พอใจการบริการที่ได้จากบรรณารักษ์


วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554

บริการยืม-คืน/จ่าย-รับ

สรุป งานบริการยืม-คืน/จ่าย-รับ (18/06/54)

งานบริการยืม-คืน/จ่้าย-รับ 
บทบาทหน้าที่ของบริการยืม-คืน 
  1. การควมคุมบริการยืม-คืน 
    บริการยืมคืนเป็นบริการพื้นฐาน ที่ต้องมีในห้องสมุดสมัยใหม่ ได้แก่ ผู้ใช้ทุกคนสามารถเข้าถึง สารสนเทศได้ และสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลทางสารสนเทศได้อย่างเท่าเทียม

   2. ประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
     เป็นจุดบริการแรกของห้องสมุดที่ผู้ใช้เข้ามาแล้วจะเจอ ซึ่งจะได้ความประทับใจจากความช่วยเหลือและบริการที่ดีที่ผู้ใช้ได้รับ สิ่งเหล่านี้จะมีผลต่อทัศนคติของผู้ใช้ ซึ่งบริการนี้เป็นสิ่งที่ตัดสินคุณภาพของการบริการของห้องสมุด
     
   การจัดการของห้องสมุด
  1. ห้องสมุดขนาดเล็ก
  2. ห้องสมุดขนาดกลาง
  3. ห้องสมุดขนาดใหญ่
   ความรู้และทักษะที่ต้องการ
  1. มีใจในการรักบริการ มีความอดทนสูง
  2. มีวามรู้เกี่ยวกับทรัพยากรที่มีให้บริการ
  3. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล OPAC
  4. มีไหวพริบในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี
  5. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
   งานที่เกี่ยวข้อง 
  • งานยืม และงานคืน
  • ระบบงานยืมคืนอัตโนมัติ
การยืมและการคืน (Check-In and Check out)
  1. บริการยืมคืนทรัพยากรห้องสมุดประเภทต่างๆ ได้แก่ หนังสือ หนังสือสำรอง ทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ
  2. กำหนดระยะเวลาในการยืมคืน
  3. ปรับสิ่งพิมพ์ที่เกินกำหนดส่ง/เสียหาย กำหนดอัตราปรับ และออกใบเสร็จรับเงิน
  4. บริการตอบคำถามชี้แนะสารนิเทศแก่้ผู้ใช้ภายในห้องสมุด
  5. บริการยืมคืนระหว่างห้องสมุด
ระบบงานยืมคืนอัตโนมัติ
  1. การพัฒนาขึ้นเอง (In-house Development)
  2. ยืมและนำมาดัดแปลงเพื่อความเหมาะสมกับห้องสมุดหน่วยนั้น
  3. ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
เทคโนโลยีที่มีการนำมาใช้ในบริการยืมคืน
  1. เทคโนโลยีรหัสแถบ (Barcode)
  2. คิวอาร์โค้ด
  3. เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (Frequency Idendify)



วันอังคารที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554

Library Building

            สรุป Library Building   (15/06/54)


         Library Building   

ลักษณะของห้องสมุดที่ใช้จากธรรมชาติ

  1. การปรับปรุงโครงสร้างของห้องสมุดที่มีอยุ่เดิมให้มีประสิทธิภาพและใช้ประโยชน์ได้มากยิ่งขึ้น  รวมทั้งยังต้องปรับปรุงภูมิทัศน์รอบๆห้องสมุดด้วย
  2. เน้นเรื่้องเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ภายในห้องสมุดเป็นหลัก และปรับสภาพทั่วๆไปให้กลมกลืนกับห้องสมุด
  3. ระบบไฟฟ้า แสงสว่าง เครื่องปรับอากาศ ควรดูแลให้อยุ่ในสภาพที่ดีอยู่เสมอ
  4. เน้นทางด้านการออกแบบให้ห้องสมุดมีความกลมกลืนกับธรรมชาติให้มากยิ่งขึ้น เพื่อผู้ใช้จะมีความรู้สึกที่อบอุ่นในขณะที่เข้ามาใช้งานห้องสมุด
มุมอ่านหนังสือที่เป็นส่วนตัว 

ห้องที่จัดเพื่อการทำงานเป็นกลุ่ม และเงียบสงบ

ห้องสมุดสีเขียว (Green Library)

มุมพักผ่อน อ่านนิตยสาร หนังสือพิมพ์ ที่มีบรรยากาศสบายๆ

ห้องสำหรับการประชุม การวางแผนงานของผู้ใช้ในด้านต่างๆ