Powered By Blogger

วันอังคารที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2554

การกำหนดค่าปรับ

สรุป การกำหนดค่าปรับ (22/06/54)

การกำหนดค่าปรับ
  • การกำหนดจำนวนที่แตกต่างกัน
  • ค่าปรับในส่วนของระยะสั้นจะมีค่าปรับที่สูงกว่ากำหนดยืมระยะยาว
  • ค่าปรับทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทมีความแตกต่างกัน
  • ควรส่งเอกสารการแต้งเตือนทุกครั้งก่อนวันส่ง
การจัดการปัญหาในการปรับ
  • มีการยกเว้น (Amnesty Pragrams)
  • มีการผ่อนผัน (Grace period)
  • หากไม่มีการส่งคืน และไม่จ่ายค่าปรับสิทธิการใช้ห้องสมุดจะถูกระงับ เช่น การยกเลิกการเป็นสมาชิก งดเว้นบริการให้ยืม
  • ในบางห้องสมุดอาจมีการใช้บริการติดตามจากบริษัท ที่มีการติดตาม(น้อบมาก)
  • ห้องสมุดมหาวิทยาลัยจะทำเรื่องการออก transcripts หรือระงับการอนุมัติการศึกษา
  • หลังจาก Grace period ควรกำหนดค่าปรับเป็นจำนวนที่กำหนดโดยไม่นับตามจำนวนค่าปรับจริง
  • การกำหนด Grace period ให้สอดคล้องกับระยะเวลาในการยืม
  • หากมีหนี้สินที่ยังไม่ได้ชำระเกินจำนวนเงินที่กำหนดโดยห้องสมุดเช่น 300 บาท จะไม่อนุญาติให้ยืมทรัพยากรอื่นๆจากห้องสมุดได้
  • มีการติดประกาศแจ้งความร่วมมือ
  • มีการแต้งเตือนเป็นระยะก่อนการดำเนินการใดๆในการจำกัดสิทธิ
การจ่ายค่าปรับ
  • จ่ายที่บริการ ยืม - คืน
  • จ่ายผ่านระบบอัตโนมัติ (Aotomated system automatically calculate fines)
  • เปิดให้มีการผ่อนผันการต่อรองระหว่างผู้ยืมและเจ้าหน้าที่
  • สำหรับห้องสมุดมหาวิทยาลัยห้องสมุดจะต้องนำส่งมหาวิทยาลัยเนื่องจากเป็นเงินรายได้ แต่สามารถขอใช้งบประมาณจากค่าปรับได้
ค่าสมาชิกค่าธรรมเนียม
  • นโยบายระหว่างห้องสมุด
  • คิดตามกำหนด หรือ ตามจำนวนประบเฉพาะที่ขำรุดเท่าันั้น
จริยธรรมในการบริการ
  • ต้องป้องกันสิทธิของผู้ใช้
  • พยายามเกื้อหนุนในการหมุนเวียนหนังสือเพื่อไม่ให้ผู้ใดผู้หนึ่งครอบครองนานเกินไป
การจัดการชั้นวางหนังสือ
  • ควรตรวจตราและควรจัดเรียนชั้นหนังสืออยู่เสมอ
  • กำหนดว่าในทุกเดือนนั้นจะต้องมีการตรวจสอบ รหัสของหนังสือ
  • หนังสือที่เป็นยอดนิยมนั้น ควรจัดขึ้นชั้นหนังสือยอดนิยม
การจัดเก็บทะเบียนผู้ใช้
  • เพื่อจำแนกว่าใครบ้างมีสิทธิ์ยืมทรพยากร หรือมีสิทธิในการใ้ช้บรการของสถาบันบริการสารสนเทศ
บัตรสมาชิก
  • บัตรพลาสติก
  • บัตรติดแถบแม่เหล็ก
  • บัตรติดรหัสแถบ
  • บัตรอัจฉริยะ
     บัตรอัจฉริยะ เป็นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการฝังชิปคอมพิวเตอร์ (Computer Chip)  ไว้ในบัตรสำหรับบรรจุข้อมูลต่างๆ ที่มาพร้อมกับระบบรักษาความปลอดภัย  ปัจจุบันรูปแบบการใช้งานบัตรสมาร์ทการ์ด แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
  1. สมาร์ทการ์ดแบบมีการสัมผัส (Contact smart cards)  จะใช้งานกับเครื่องอ่านสมาร์ทการ์ด (smart card reader) ซึ่งเป็นบัตรที่มีการผนึกชิปขนาดเล็ก  เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณครึ่งนิ้วเอาไว้ที่ด้านหน้าบัตรแทนการใช้แถบแม่ เหล็ก (Magnetic Stripe)  นิยมใช้ในบัตรเครดิตหรือบัตรเอทีเอ็ม  ผู้ใช้ต้องเสียบบัตรเข้าไปในเครื่องอ่าน  ระบบจึงจะทำการอ่านข้อมูล
  2. สมาร์ทการ์ดแบบไม่มีการสัมผัส (Contactless Smart cards payment)  เป็นบัตรผนึกชิปคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน  สำหรับเชื่อมต่อกับเครื่องรับ-ส่งข้อมูลระยะไกล (Remote receiver/transmitter)  เพื่อใช้ดำเนินธุรกรรมการชำระเงินแบบไม่ต้องสัมผัส (Contactless Payment) เช่น บัตรรถไฟใต้ดิน  และบัตรสมาร์ทเฟิร์ส เป็นบัตรเงินสดดิจิตอล  ซึ่งได้ติดตั้งไม่โครโปรเซสเซอร์ชิปไว้บนบัตร  เพื่อใช้สำหรับเก็บข้อมูลการเงิน ข้อมูลส่วนตัวบุคคล
 สาเหตุที่ผู้ใช้ไม่พอใจ
  • ไม่สามารถหาสิ่งที่ต้องการได้
  • ไม่ได้รับการแจ้งเตืนเมื่อมีค่าปรับ
  • ระยะเวลาการยืมทรัพยากรประเภทต่างๆสั้น
  • จำกัดจำนวนครั้งในการยืมต่อ
  • ค่าปรับประเภทต่างๆ
  • เสียงรบกวนในการเข้าใช้ห้องสมุด
  • ไม่พอใจการบริการที่ได้จากบรรณารักษ์


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น