Powered By Blogger

วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554

การดำเนินงานบริการยืมระหว่างห้องสมุด

 สรุป การดำเนินงานบริการยืมระหว่างห้องสมุด (28/06/54)

การดำเนินงานบริการยืมระหว่างห้องสมุด

     มีคณะกรรมการควบคุมการดำเนินงาน ปรับปรุงพัฒนา Union catalog มีคณะทำงานฝ่ายสารสนเทศห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
  1. จัดทำคู่มือ
  2. กำหนดมาตรฐานร่วมกัน
  3. กำหนดรูปแบบมาตรฐานการประสานงาน
  • ห้องสมุดที่ให้บริการเป็นผู้กำหนดนโยบายพิเศษวิธีการยืมระหว่างห้องสมุด
  • กำหนดรายละเอียดระบบการยืมระหว่างห้องสมุด
ผู้มีสิทธิใช้บริการ สมาชิกห้องสมุดทุกประเภท
ลักษณะการให้บริการ สมาชิกของห้องสมุดอาจไปยืมและคืนด้วยตนเอง หรือใช้บริการระหว่างห้องสมุด
ทรัพยากรที่ให้บริการ หนังสือ ตำรา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความในวารสารหรือในหนังสือ
จำนวนสิ่งพิมพ์ที่ให้ยืม 3 รายการ / คน (ในคราวเดียวกันไม่เกิน 20 เล่ม ต่อสถาบันอุดมศึกษา)
ระยะเวลาการยืม ประมาณ 1-2 สัปดาห์
ค่าบริการ (ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง ข้อตกลงว่าด้วยการบริการระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2550) ผู้รับบริการรับผิดชอบดังนี้
- ค่ายืมฉบับจริง 100 บาท / เล่ม (เป็นค่าส่งเอกสารลงทะเบียน)
- ค่าสำเนาเอกสาร ราคาประมาณ 2 บาท / หน้า
- ค่า Scan ส่งทางระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เอกสารข้อความหน้าละ 5 บาท
- ค่าส่งเอกสาร ตามใบแจ้งราคา
- ค่าธรรมเนียมการส่งเงิน ตามอัตราการไปรษณีย์แห่งประเทศไทย
ขั้นตอนการรับบริการ (ห้องสมุดดำเนินการให้) 1. ผู้รับบริการกรอกแบบฟอร์มการรับบริการยืมระหว่างห้องสมุด หรือส่งแบบฟอร์มที่กรอกเรียบร้อยแล้วที่ห้องสมุดที่ท่านสะดวกรับเอกสาร
2. ติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ห้องสมุด และจ่ายค่ามัดจำ (50 - 100 บาท / บทความ หรือ 300 - 500 บาท / สำเนาเอกสารทั้งเล่ม)
3. เมื่อห้องสมุดผู้ดำเนินการได้รับเอกสาร จะติดต่อแจ้งให้ท่านมารับเอกสารต่อไป
http://library.cmu.ac.th/cmul/node/125
  • ทำการสำรวจการให้บริการยืมฉบับจริงทางไปรษณีย์
  • คู่มือต่างๆที่ได้นำขึ้นใช้บนเว็บไซด์ดำเนินงาน
การดำเนินงานในระบบอัตโนมัติ (Automated ILL)
     ภายในสถาบันเครือข่ายสามารถแก้ปัญหาในการเข้าถึงสารสนเทศได้มากขึ้น

การยืมระหว่างห้องสมุดผ่านเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต(Interlibrary loan SW-ILL SW)

การคิดค่าบริการ
    ในการให้บิการมีการคิดค่าบรอการจากผู้ใช้ ทั้งนี้อย่างน้อยเพื่อให้มั่นใจว่า ผู้ใช้จะมารับรายการที่ยืมไว้แน่นอนและผู้ใช้ก็มั่นใจได้ว่าสถาบันจะดำเนินการให้อย่างแน่นอนเช่นกัน โดยปกติแล้วจะมีการคิดค่าบริการสำหรับบริการพิเศษบางอย่างอยู่แล้ว เป็นค่าใช้ยริการฐานข้อมูลออนไลน์กับค่าบริการฐานข้อมูลเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายต่างๆดังนี้ ค่าไปรษณีย์ ค่าประกันความเสียหาย ค่าบริการจากสถาบันผู้ให้ยืม

การจัดส่งเอกสาร
  • ทางไปรษณีย์
  • บรืการส่งพัสดุ
  • บริการรับส่งเอกสาร
การบรรจุหีบห่อและการจัดส่ง
การดำเนินการเมื่อได้รับเอกสาร
วัสดุที่ควรเพิ่มเติมในเอกสาร
การคุ้มครอง
   ให้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภท ได้แก่
ได้แก่
    1. งานวรรณกรรม  ( หนังสือ  จุลสาร  สิ่งพิมพ์  คำปราศรัย  โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ )
    2. งานนาฎกรรม  ( ท่ารำ  ท่าเต้น ฯลฯ )
    3. งานศิลปกรรม  ( จิตรกรรม  ประติมากรรม  ภาพพิมพ์  ภาพถ่าย  ศิลปประยุกต์ ฯลฯ )
    4. งานดนตรีกรรม ( ทำนอง  ทำนองและเนื้อร้อง ฯลฯ )
    5. งานสิ่งบันทึกเสียง ( เทป  ซีดี )
    6. งานโสตทัศนวัสดุ  ( วีซีดี  ดีวีดี  ที่มีภาพหรือมีทั้งภาพและเสียง )
    7. งานภาพยนตร์
    8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
    9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น