Powered By Blogger

วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บริการยืมหนังสือสำรอง

สรุป บริการหนังสือสำรอง (02/07/54)

บริการยืมหนังสือสำรอง

ปรัชญาของหนังงานหนังสือสำรอง
  • ส่งเสริมการเรียนการสอน
หนังสือสำรอง
  • ทรัพยากรสารสนเทศที่มีจำกักในระยะเวลาที่ยืมทรัพยากร
  • มีการให้บริการที่เคาเตอร์ยืมคืน
  • ส่วนใหญ่แล้วใช้ในห้องสมุดเท่านั้น
  • หากมีการอนุญาติให้ยืม จะมีขั้นตอนในการยืมปกติทั่วไป
  • มีการจำกัดจำนวนในการยืม
ทรัพยากรสารสนเทศที่ให้ยืม
  • ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทุกชนิด
  • ทรัพยากรสารสนเทศส่วนบุคคล
  • CD,VCD.DVD
  • บทความชนิดต่างๆ
  • ตัวอย่างแบบทดสอบ ข้อความ ความเรียงประเภทต่างๆ
  • เอกสารฉบับ Electronics เมื่อมีปัญหาในด้านค่าใช้จ่ายและมีระบบป้องกันในการเข้าใช้เพื่อไม่ให้มีการคัดลอกสำเนาไปใช้ได้
ความสำคัญบริการหนังสือสำรอง
  • มีบทบาทในการสนับสนุนการเรียนการสอน
  • ทำให้นักศึกษาสามารถขเา้ถึงสารสนเทศได้อย่างเท่าเทียมกัน
  • สร้างความสักพันธ์ที่ดีต่อบรรณารักษ์และผู้สอน
  • คุณภาพการบริการ
  • นิยมบริการในห้องสมุดอุดมศึกษา
  • อาจมีบริการในห้องสมุดโรงเรียน
  • มีการปรับเปลี่ยนอยู่เสมอในแต่ละเทอม
ขั้นตอนในการดำเินินงาน
     งานที่ปฏิบัติ
  • รับใบขอบริการ การขอใช้บริกา่ีร การขอใช้ออนไลน์
  • รับเอกสาร หรือ คัดทรัพยากรสารสนเทศจัดการบริการ มีการตกลงระยะเวลาในการยืม
  • จัดทำสำเนาหรือสแกน
  • มีการเข้าเล่ม
  • จัดการระเบียบเอกสาร เช่น การจัดหมวดหมู่ หรือจัดทำระบบที่ทำให้หยิบง่าย นิยมเรียงตาืมชื่อกระบวนวิชาผู้สอน หรือมีการกำหนดหมายเลข"ทำบัตรยืม"
  • กำหนดระยะเวลาระเบียบในการยืม
  • ให้บริการยืมคืน
  • จัดเก็บค่าปรับ
  • คืนย้ายเอกสารเก็บ
  • แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
  • จัดเก็บสถิติ
  • การดูแลรักษาเอกสาร
  • การรักษาความปลอดภัย
 การจัดเก็บ
  • การจัดเก็บตามหมายเลขกระบวนวิชาชื่อผู้สอน เรียงตามชื่อเรื่อง หรือชื่อผู้แต่ง หรือมีการกำหนดหมายเลข
  • บทความแบบทดสอบในการจัดเก็บในแฟ้ม และใส่บาร์โค้ดสำหรับยืมออก
  • เอกสารที่มีการสแกน ให้มีการจัดเก็บไว้บน OPAC และแจ้งแหล่งจัดเก็บ หรือมีการจัดทำรายชื่อแยกไว้
การจัดการเอกสาร
  • จัดทำบัตรยืม และมีคำแนะนำ
  • ใช้สีแตกต่างกันในกรณีที่มีระยะเวลาในการยืมที่แตกต่างกัน
  • ใช้ชื่อผู้สอนกระบวนวิชา
ระยะเวลายืม
  • ยืมในห้องสมุดทั่วไประยะเวลาที่กำหนด 2 ชั่วโมงไม่มีการขอยืมต่อ
  • ยืมออกห้องสมุด 1-2 วัน หรือเฉพาะนอกเวลาทำการ และนำมาคืนในระยะเวลาที่กำหนด มีค่าปรับสูงสำหรับคิดเป็นชั่วโมง
  • ทั่วไปแล้วระยะเวลาในการยืมจะต้องสั้นกว่าปกติ และต้องให้หมุนเวียนในกล่มผู้ใช้อย่างทั่วถึง
การเข้าถึง
  • โปรแกรมห้องสมุดจะมีงานหนังสือสำรองให้
  • ระบบที่มีการสำรองจะมีการแจ้งในการค้น OPAC ทั่วไประบบห้องสมุดอัตโนมัติจะมีโปรแกรมจัดการหนังสือสำรองให้
  • มีการทำรายการแจ้งแยกให้สามารถค้นหาได้
  • แจ้งผู้สอนถึงการจัดเก็บ วิธีการจัดเก็บ เพื่อผู้สอนแจ้งการศึกษา
ความสัมพันธ์กับผู้สอน
  •  ให้พยายามติดต่อสื่อสารกับผู้สอนอย่างสม่ำเสมอ
  • ผู้สอนมักลืมว่าได้มอบเอกสารให้ห้องสมุดเพื่อให้นักศึกษาได้ใช้ บรรณารักษ์ต้องดำเนินการแจ้งให้มารับ หรือ ประสานงานในรูปแบบของการส่งคืนที่ต้องการ หรือจะให้จัดเก็บไว้เพื่อดำเนินการต่อ
การจัดเข้าหน้าที่ คุณสมบัติ
  • ปรับจำนวนผู้บริการตามจำนวนการเข้าใช้ ไม่สามารถกำหนดแน่นอนได้
  • มีทักษะการสื่อสาร การประสานงาน การต่อรอง แลัมีความหยืดหยุ่น
  • มีความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์
Reserve Card
  • มีการแนบกับเอกสารทุกชิ้น
  • ใช้บัตรต่างสีสำหรับระยะเวลาการยืมที่แตกต่างกัน
Contidenttiality ความลับ and Reserves
  • ไม่เปิดเผยชื่อผู้ยืม เช่นเดียวกับการยืมปกติ
  • ไม่แต้งชื่อผู้ยืมกับผู้สอน
  • ผู้สอนอาจใช้วิธีลงชื่อยืมใช้
การจัดเก็บ
  • ชั้นปิด
  • บริเวณให้บริการยืมคืน
  • บริเวณที่ใกล้เคียงกับบริการยืมคืน
  • หรือมีห้องที่แยกเฉพาะ
แนวโน้มการให้บริการในอนาคต
  • มีเอกสารดิจิทัลให้สามารถปรับเปลี่ยน และมีการแสดงรายการผ่าน OPAC หรือการจัดทำรายการฉบับพิมพ์
  • สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลาและสถานที่
  • มีการป้องกันสิทธิ มี password protected
  • อาจารย์สามารถเสนอเอกสารบน web page ของตัวเองได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น